โครงสร้างของเนื้อหา
.....เนื้อหาบทเรียนที่เราจะนำมาออกแบบการสอนแต่ละเนื้อหาจะมีโครงสร้างแตกต่างกัน ซึ่งลักษณะโครงสร้างของเนื้อหานี้
จะมีส่วนสำคัญที่กำหนดให้เส้นทางการจัดการเรียนรู้ดำเนินไปในรูปแบบใดในที่นี้ผู้จัดทำจะขอนำเสนอลักษณะโครงสร้างของเนื้อหาที่สำคัญๆ 3 ลักษณะดังนี้
.....1. เนื้อหาที่มีลักษณะแบบระนาบ เนื้อหาย่อยๆแต่ละเนื้อหามีความสำคัญเท่าๆ กัน และสามารถเรียนเนื้อหาใดก่อนก็ได้โครงสร้างของเนื้อหาจึงอาจเขียนได้ดังแผนภูมิต่อไปนี้
.....เนื้อหาบทเรียนที่เราจะนำมาออกแบบการสอนแต่ละเนื้อหาจะมีโครงสร้างแตกต่างกัน ซึ่งลักษณะโครงสร้างของเนื้อหานี้
จะมีส่วนสำคัญที่กำหนดให้เส้นทางการจัดการเรียนรู้ดำเนินไปในรูปแบบใดในที่นี้ผู้จัดทำจะขอนำเสนอลักษณะโครงสร้างของเนื้อหาที่สำคัญๆ 3 ลักษณะดังนี้
.....1. เนื้อหาที่มีลักษณะแบบระนาบ เนื้อหาย่อยๆแต่ละเนื้อหามีความสำคัญเท่าๆ กัน และสามารถเรียนเนื้อหาใดก่อนก็ได้โครงสร้างของเนื้อหาจึงอาจเขียนได้ดังแผนภูมิต่อไปนี้
วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
.....2.เนื้อหาที่มีลักษณะแบบลำดับขั้น เนื้อหาย่อยๆแต่ละเนื้อหามีลำดับ ก่อน – หลังการจัดการเรียนรู้จะต้องจัดจากเนื้อหาแรก ไปก่อนตามลำดับในลักษณะขั้นบันได
.....3.เนื้อหาที่มีลักษณะผสม มีเนื้อหาย่อยๆหลายเนื้อหา แต่ละเนื้อหาย่อยๆมีทักษะย่อยๆที่ผู้เรียนต้องศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถสมบูรณ์เสียก่อนจึงจะผ่านไปเรียนเนื้อหาย่อยอื่นๆ ได้ เมื่อเรียนครบทุกเนื้อหาย่อยๆ แล้วจะมีความรู้ครบตามที่บทเรียนกำหนด
.....3.เนื้อหาที่มีลักษณะผสม มีเนื้อหาย่อยๆหลายเนื้อหา แต่ละเนื้อหาย่อยๆมีทักษะย่อยๆที่ผู้เรียนต้องศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถสมบูรณ์เสียก่อนจึงจะผ่านไปเรียนเนื้อหาย่อยอื่นๆ ได้ เมื่อเรียนครบทุกเนื้อหาย่อยๆ แล้วจะมีความรู้ครบตามที่บทเรียนกำหนด
.....นอกจากลักษณะเนื้อหาที่กล่าวมาแล้ว อาจมีลักษณะเนื้อหาอื่นๆ ที่แตกต่างไปบ้าง แต่อาจเป็นในลักษณะการผสมผสานกันของทั้ง 3 ลักษณะที่กล่าวมานี้
ก. ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) ในการออกแบบระบบการเรียนการสอน ผู้ออกแบบจะต้องทำการวิเคราะห์สิ่งต่างๆ ต่อไปนี้
.....1. วิเคราะห์หลักสูตร (Curriculum Analysis) โดยปกติ หลักสูตรจะมีจุดประสงค์ปลายทางของหลักสูตรแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 เรียกว่า ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมปีที่ 4 จากคู่มือการจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ 23 ข้อ ผู้จัดทำเลือกผลการเรียนรู้ที่คาดหวังข้อ 1 - 7 ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องพืชมาเป็นตัวอย่างของจุดประสงค์ปลายทาง ในคู่มือกำหนดให้ใช้เวลาเรียนเนื้อหาส่วนนี้จำนวน 25 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและของสาระการเรียนรู้
ก. ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) ในการออกแบบระบบการเรียนการสอน ผู้ออกแบบจะต้องทำการวิเคราะห์สิ่งต่างๆ ต่อไปนี้
.....1. วิเคราะห์หลักสูตร (Curriculum Analysis) โดยปกติ หลักสูตรจะมีจุดประสงค์ปลายทางของหลักสูตรแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 เรียกว่า ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมปีที่ 4 จากคู่มือการจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ 23 ข้อ ผู้จัดทำเลือกผลการเรียนรู้ที่คาดหวังข้อ 1 - 7 ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องพืชมาเป็นตัวอย่างของจุดประสงค์ปลายทาง ในคู่มือกำหนดให้ใช้เวลาเรียนเนื้อหาส่วนนี้จำนวน 25 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและของสาระการเรียนรู้
.....2. การวิเคราะห์ผู้เรียน (Learners Analysis) เป็นการศึกษากลุ่มเป้าหมายที่จะใช้บทเรียนว่ามีคุณลักษณะอย่างไร เช่นความสามารถทางการเรียนรู้ พื้นฐานความรู้ของผู้เรียนทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ความชอบเกี่ยวกับรูปแบบการเรียน ความกระตือรือร้นในการเรียน
.....3. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เมื่อทำการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เราจะได้สาระการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กัน ดังด้านขวาของตารางในข้อ 1 แสดงว่าหน่วยการเรียนรู้เรื่องพืช เรามีเนื้อหาย่อยๆ ให้นักเรียนศึกษา 7 เรื่อง ในขั้นต่อไปผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จะต้องทำการวิเคราะห์เนื้อหาย่อยๆ จัดทำเป็นผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)ของผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและของสาระการเรียนรู้
.....3. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เมื่อทำการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เราจะได้สาระการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กัน ดังด้านขวาของตารางในข้อ 1 แสดงว่าหน่วยการเรียนรู้เรื่องพืช เรามีเนื้อหาย่อยๆ ให้นักเรียนศึกษา 7 เรื่อง ในขั้นต่อไปผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จะต้องทำการวิเคราะห์เนื้อหาย่อยๆ จัดทำเป็นผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)ของผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและของสาระการเรียนรู้
....4. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวกับการเรียน เช่นการเรียนทางไกลที่ผู้เรียนต้องเรียนจากบทเรียนแทนการเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งจะต้องออกแบบให้สมบูรณ์ที่สุดหากเป็นบทเรียนเสริมการเรียนในชั้นเรียนก็อาจไม่ต้องสมบูรณ์เท่าสภาพแวดล้อมของการเรียนอีกด้านหนึ่งก็คือ ความพร้อม สมบูรณ์ และเพียงพอของฮาร์ดแวร์ ระบบเครือข่าย รวมทั้งอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้ออกแบบระบบการเรียนการสอนจึงต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนเหล่านี้ด้วย
....5. การวิเคราะห์ภาระงานหรือวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) การวิเคราะห์ภาระงานถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากสำหรับการออกแบบระบบการเรียนการสอน การกำหนดเนื้อหาและการแตกเนื้อหาที่ซับซ้อนออกเป็นเนื้อหาย่อยๆ ที่เหมาะสม เพื่อจัดลำดับและเส้นทางการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการวิเคราะห์ทักษะที่ต้องการสอนอย่างครบถ้วนการวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการเรียน จะช่วยให้ผู้ออกแบบกำหนดลำดับกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสม
....5. การวิเคราะห์ภาระงานหรือวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) การวิเคราะห์ภาระงานถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากสำหรับการออกแบบระบบการเรียนการสอน การกำหนดเนื้อหาและการแตกเนื้อหาที่ซับซ้อนออกเป็นเนื้อหาย่อยๆ ที่เหมาะสม เพื่อจัดลำดับและเส้นทางการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการวิเคราะห์ทักษะที่ต้องการสอนอย่างครบถ้วนการวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการเรียน จะช่วยให้ผู้ออกแบบกำหนดลำดับกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสม
ข. ขั้นการออกแบบบทเรียน (Design)
หลังจากได้วิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ของการออกแบบระบบการเรียนการสอนแล้ว ในขั้นต่อไปก็คือนำข้อมูลที่วิเคราะห์ทั้งหมดมาเริ่มออกแบบ ซึ่งมีขั้นตอนและรายละเอียดดังต่อไปนี้
....1. การกำหนดเป้าหมายของการเรียน (Goal) จากการวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยการเรียนรู้เรื่องการดำรงชีวิตของพืช ก็คือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทั้ง 7 ข้อได้แก่
หลังจากได้วิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ของการออกแบบระบบการเรียนการสอนแล้ว ในขั้นต่อไปก็คือนำข้อมูลที่วิเคราะห์ทั้งหมดมาเริ่มออกแบบ ซึ่งมีขั้นตอนและรายละเอียดดังต่อไปนี้
....1. การกำหนดเป้าหมายของการเรียน (Goal) จากการวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยการเรียนรู้เรื่องการดำรงชีวิตของพืช ก็คือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทั้ง 7 ข้อได้แก่
....1.1 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของราก ใบ ลำต้น
....1.2 สังเกตและสำรวจ เขียนภาพแสดงส่วนประกอบของดอกและอธิบายหน้าที่ของดอก
....1.3 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยบางประการที่จำเป็น ได้แก่ แสง น้ำ ความชื้นในดินต่อการเจริญเติบโตของพืช
....1.4 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยบางประการที่จำเป็นได้แก่ แสง คลอโรฟิลด์ ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
....1.5 สังเกต สำรวจ และอธิบายการ เจริญเติบโตของพืชตั้งแต่ต้นอ่อน จนมีดอกและมีผล
....1.6 สังเกตและเขียนแผนภาพแสดงวัฏจักรของพืชที่เลือกศึกษาตามความสนใจ
....1.7 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าได้แก่แสง เสียง สัมผัส
....1.2 สังเกตและสำรวจ เขียนภาพแสดงส่วนประกอบของดอกและอธิบายหน้าที่ของดอก
....1.3 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยบางประการที่จำเป็น ได้แก่ แสง น้ำ ความชื้นในดินต่อการเจริญเติบโตของพืช
....1.4 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยบางประการที่จำเป็นได้แก่ แสง คลอโรฟิลด์ ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
....1.5 สังเกต สำรวจ และอธิบายการ เจริญเติบโตของพืชตั้งแต่ต้นอ่อน จนมีดอกและมีผล
....1.6 สังเกตและเขียนแผนภาพแสดงวัฏจักรของพืชที่เลือกศึกษาตามความสนใจ
....1.7 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าได้แก่แสง เสียง สัมผัส
2. กำหนดเนื้อหา ขั้นตอนนี้เป็นการตัดสินใจเลือกเนื้อหาให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการสอนที่กำหนด ทำการวิเคราะห์เนื้อหา แยกย่อยเนื้อหาให้เป็นเนื้อหาย่อยๆ จัดลำดับเนื้อหาตามลักษณะโครงสร้างของเนื้อหา พร้อมที่จะวิเคราะห์ภาระงาน (Task Analysis)
หรือกิจกรรมของผู้เรียนในขั้นตอนต่อไป
หรือกิจกรรมของผู้เรียนในขั้นตอนต่อไป
....3. การกำหนดภารกิจ (Task Analysis) หากในขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา นักออกแบบการสอน สามารถวิเคราะห์เนื้อหาและทักษะที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหาแล้ว การทำงานในขั้นตอนการกำหนดภาระงานก็จะไม่ยุ่งยาก
........การกำหนดภารกิจ เป็นการกำหนดลำดับขั้นของกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยอาศัยลำดับขั้นตามโครงสร้างของเนื้อหาเป็นหลัก
........การกำหนดภารกิจ เป็นการกำหนดลำดับขั้นของกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยอาศัยลำดับขั้นตามโครงสร้างของเนื้อหาเป็นหลัก
....4. การกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นการกำหนดพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดขึ้น เมื่อผู้เรียนเรียนจบบทเรียนโดยอาจเป็นจุดประสงค์ทางด้านความรู้ ความคิด ทางด้านทักษะกระบวนการ หรือทางด้านเจตคติ ดังนั้นการจะกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ครอบคลุมภารกิจ และสอดคล้องกับโครงสร้างของเนื้อหานั้นเราจึงควรมีการวิเคราะห์ภารกิจของผู้เรียน(Task Analysis) ในกิจกรรมการเรียนรู้จากเริ่มต้นไปจนจบบทเรียน แล้วเขียนเป็นจุดประสงค์ โดยความสามารถที่เกิดขึ้นท้ายสุดเป็นผลรวมของความสามารถในขั้นต้น และความสามารถนั้นก็คือพฤติกรรมที่เราต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเราเรียกพฤติกรรมท้ายสุดที่ต้องการให้เกิดขึ้นว่า “จุดประสงค์ปลายทาง” นั่นก็คือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่เราได้จากการวิเคราะห์หลักสูตรนั่นเอง และพฤติกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนรู้เราเรียกว่า “จุดประสงค์นำทาง” ในการเขียนจุดประสงค์นำทางเราจะเขียนเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
.......จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นจุดประสงค์ที่มีองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ เงื่อนไขหรือสถานการณ์ที่กำหนด ส่วนที่ 2 คือ พฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดขึ้น และ 3 คือ เกณฑ์ของความสำเร็จ ตัวอย่างเช่น เมื่อกำหนดตัวอย่างชื่อพืชที่มีทั้งพืชมีดอกและพืชไม่มีดอกให้สามารถจำแนกเป็น 2 กลุ่มคือพืชมีดอกและไม่มีดอกได้
.....5. การออกแบบการประเมินผล เมื่อจัดทำรายละเอียดของเนื้อหา วิเคราะห์ภารกิจและเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมครบถ้วนหมดแล้ว ขั้นต่อไปก็ดำเนินการจัดทำแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งควรจัดทำแบบทดสอบ 2 ระดับ คือ
........5.1 แบบทดสอบประจำหน่วย (Summative Test) แบบทดสอบที่เหมาะกับการจัดทำบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ควรเป็นแบบทดสอบประเภทปรนัย (Objective Test)แบบทดสอบชุดนี้ จะใช้เป็นแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ประจำหน่วย ในลักษณะการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (Pre-test & Post-test)
.......5.2. แบบทดสอบประจำตอน (Formative Test) จากการที่เราได้วิเคราะห์เนื้อหาของบทเรียนออกเป็นเนื้อหาย่อยๆ วิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้ของนักเรียนออกเป็น ตอนๆ และเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมแล้วนั้น เราควรจัดทำแบบทดสอบประจำตอนนั้น ๆ ด้วย เพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เกี่ยวกับผลการเรียนรู้ของเขา เพราะจากการวิจัยพบว่าผู้เรียนจะมีผลการเรียนดีขึ้นหากได้ทราบผลการเรียน (Feed back) ของตนเองอย่างสม่ำเสมอ
.....การจัดทำแบบทดสอบทั้งในระดับประจำหน่วยการเรียนรู้ และประจำตอนนั้น ควรได้รับการหาประสิทธิภาพด้วยวิธีการที่เป็นที่ยอมรับ เช่น การหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าความยากง่าย ค่าความเชื่อมั่น (ความเที่ยง) และค่าอำนาจจำแนก เป็นต้น
........5.1 แบบทดสอบประจำหน่วย (Summative Test) แบบทดสอบที่เหมาะกับการจัดทำบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ควรเป็นแบบทดสอบประเภทปรนัย (Objective Test)แบบทดสอบชุดนี้ จะใช้เป็นแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ประจำหน่วย ในลักษณะการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (Pre-test & Post-test)
.......5.2. แบบทดสอบประจำตอน (Formative Test) จากการที่เราได้วิเคราะห์เนื้อหาของบทเรียนออกเป็นเนื้อหาย่อยๆ วิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้ของนักเรียนออกเป็น ตอนๆ และเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมแล้วนั้น เราควรจัดทำแบบทดสอบประจำตอนนั้น ๆ ด้วย เพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เกี่ยวกับผลการเรียนรู้ของเขา เพราะจากการวิจัยพบว่าผู้เรียนจะมีผลการเรียนดีขึ้นหากได้ทราบผลการเรียน (Feed back) ของตนเองอย่างสม่ำเสมอ
.....การจัดทำแบบทดสอบทั้งในระดับประจำหน่วยการเรียนรู้ และประจำตอนนั้น ควรได้รับการหาประสิทธิภาพด้วยวิธีการที่เป็นที่ยอมรับ เช่น การหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าความยากง่าย ค่าความเชื่อมั่น (ความเที่ยง) และค่าอำนาจจำแนก เป็นต้น
....6. การสร้างแผนภูมิการเรียนรู้ (Learning Flow Chart) จากการดำเนินการดังที่กล่าวมาแล้วเราจะได้จุดประสงค์ปลายทาง (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) ซึ่งเป็นจุดประสงค์ของหน่วย แบบทดสอบประจำหน่วย เนื้อหาย่อยเป็นตอน ๆ ภารกิจของผู้เรียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม และแบบทดสอบประจำตอน เราก็จะสามารถเขียนแผนภูมิการเรียนรู้ของหน่วยการดำรงชีวิตของพืชได้
ค. ขั้นการพัฒนาบทเรียน (Development)
....1. การเขียนสคริบ (Scripting) เป็นการจัดทำรายละเอียดการนำเสนอตามแบบที่กำหนดไว้ ในขั้นตอนนี้ผู้ออกแบบการสอนจะต้องเขียนรายละเอียดของเนื้อหาเป็นกรอบ(Frame) ตามแบบของการเขียน เพื่อกำหนดว่าจะใช้ข้อความ ภาพ เรื่อง สี ขนาด แบบตัวอักษร ฯลฯ และการกำหนดปฏิสัมพันธ์ (Interaction)
....1. การเขียนสคริบ (Scripting) เป็นการจัดทำรายละเอียดการนำเสนอตามแบบที่กำหนดไว้ ในขั้นตอนนี้ผู้ออกแบบการสอนจะต้องเขียนรายละเอียดของเนื้อหาเป็นกรอบ(Frame) ตามแบบของการเขียน เพื่อกำหนดว่าจะใช้ข้อความ ภาพ เรื่อง สี ขนาด แบบตัวอักษร ฯลฯ และการกำหนดปฏิสัมพันธ์ (Interaction)
....2. การออกแบบบทดำเนินเรื่อง (Storyboard) หมายถึง เรื่องราวของบทเรียนประกอบด้วยเนื้อหาที่แบ่งออกเป็นเฟรมๆ ตั้งแต่เฟรมแรกซึ่งเป็น Title ของบทเรียนจนถึงเฟรมสุดท้าย บทดำเนินเรื่องจึงประกอบด้วย ภาพข้อความ คำถาม-คำตอบ และรายละเอียดอื่นๆ จากแผนภูมิการเรียนรู้ (Learning Flow Chart) ในข้อ 6 จะเห็นว่ามีเนื้อหาย่อยๆ อยู่ 4 ตอน แต่ละตอนสามารถเขียนบทดำเนินเรื่อง (Storyboard)
....2. แบบแตกกิ่ง (Branching Program) บทเรียนรูปแบบนี้ มีกรอบการเรียนรู้ที่เป็นทางเลือกให้ผู้เรียน ทำให้สนองความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ดี การจะออกแบบบทเรียนให้มีโครงสร้าง แตกกิ่ง อย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับเนื้อหาผู้ออกแบบบทเรียนวิเคราะห์ และกำหนดซึ่งมีรูปแบบดังนี้
.......2.1 แบบซ้ำกรอบเดิม (Linear format with repetition) มีลักษณะที่คล้ายกับบทเรียนแบบเส้นตรง แต่มีคำถามแทรกระหว่างกรอบเนื้อหา ถ้าผู้เรียนตอบถูกต้อง จะได้ผ่านไปกรอบถัดไป ถ้าตอบไม่ถูกต้อง จะย้อนกลับมายังกรอบเนื้อหาเดิมอีกครั้ง และตอบคำถามเดิมอีกครั้ง โครงสร้างแบบนี้เหมาะกับบทเรียนประเภทติวเตอร์ แบบฝึกหัด เกมเพื่อการศึกษา และสถานการณ์จำลอง
.......2.1 แบบซ้ำกรอบเดิม (Linear format with repetition) มีลักษณะที่คล้ายกับบทเรียนแบบเส้นตรง แต่มีคำถามแทรกระหว่างกรอบเนื้อหา ถ้าผู้เรียนตอบถูกต้อง จะได้ผ่านไปกรอบถัดไป ถ้าตอบไม่ถูกต้อง จะย้อนกลับมายังกรอบเนื้อหาเดิมอีกครั้ง และตอบคำถามเดิมอีกครั้ง โครงสร้างแบบนี้เหมาะกับบทเรียนประเภทติวเตอร์ แบบฝึกหัด เกมเพื่อการศึกษา และสถานการณ์จำลอง
.........2.2 แบบทดสอบข้ามกรอบ (Pretest and skip format) เป็นบทเรียนที่ทดสอบความรู้ของผู้เรียนก่อนเรียนเนื้อหา ถ้าทดสอบผ่าน ก็จะข้ามกรอบที่ผู้เรียนรู้เนื้อหานั้น ๆ แล้วไปยังกรอบเนื้อหาอื่นๆ โครงสร้างแบบนี้เหมาะสมกับบทเรียนประเภท ติวเตอร์แบบฝึกหัด เกมเพื่อการสอน และสถานการณ์จำลอง
........2.3 แบบข้ามและย้อนกลับ (Gates Frames) มีลักษณะโครงสร้างแบบ เส้นตรงมีกรอบคำถามอยู่ระหว่างกรอบเนื้อหาหลายกรอบ และถ้าตอบผิด อาจย้อนกลับไป กรอบเนื้อหาใดๆ ตามที่ผู้ออกแบบบทเรียนกำหนดไว้ โครงสร้างแบบนี้เหมาะกับ บทเรียนประเภทติวเตอร์ แบบฝึกหัด เกมเพื่อการสอน และสถานการณ์จำลอง
........2.4 แบบเส้นทางเดินหลายทาง (Secondary tracks) เป็นบทเรียนที่มีทางเดินหลายระดับ โดยเส้นทางที่ 1 เป็นกรอบเนื้อหาหลัก ไม่มีรายละเอียดมากนัก ถ้าผู้เรียนเลือกเรียนเฉพาะเส้นทางที่ 1 ผู้เรียนจะได้รายละเอียดของเนื้อหาในระดับหนึ่ง แต่ถ้าต้องการรายละเอียดมากขึ้น ก่อนจะไปสู่กรอบเนื้อหาต่อๆ ไป จะต้องไปศึกษา ในทางเดินระดับที่ 2และ 3 โครงสร้างประเภทนี้เหมาะกับบทเรียนประเภท ติวเตอร์ ซึ่งเนื้อหาของบทเรียน มีลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์ และไฮเปอร์มีเดีย (Hypertext and Hypermedia)
....3. การประเมินบทเรียน (Content Correctness) หลังจากการจัดทำ Story board เสร็จแล้ว ควรให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาอย่างน้อย 3 – 5 คน ได้ประเมินเกี่ยวกับความเที่ยงตรงเค้าโครงสร้างของเนื้อหาก่อน ได้ข้อเสนอแนะแล้วนำมาปรับปรุงอีกครั้ง
.......2.5 แบบกรอบเสริมเชิงเดี่ยว (Single remedial branch) เป็นบทเรียนที่เริ่มด้วยกรอบเนื้อหา ตามด้วยกรอบคำถาม ถ้าผู้เรียนตอบถูกจะไปเรียนกรอบต่อไปแต่ถ้าตอบผิดผู้เรียนจะต้องไปเรียนกรอบซ่อมเสริมก่อนจะไปเรียนกรอบต่อไป ลักษณะบทเรียนประเภทนี้เหมาะกับบทเรียนประเภท ติวเตอร์ และแบบฝึกหัด
.......2.6 แบบมีห่วงกรอบช่วยเสริม (Remedial loops) มีลักษณะคล้ายกับแบบกรอบเสริมเชิงเดี่ยว ต่างกันที่ กรอบช่วยเสริมมีหลายกรอบ ประกอบกันเป็นชุด หลาย ๆ กรอบ ซึ่งเป็นกรอบที่ปูพื้นฐานความรู้ ข้อมูลให้ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนได้รับการซ่อมเสริมแล้ว จะส่งกลับมายังกรอบเนื้อหาเดิม เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความรู้จากการซ่อมเสริม มาศึกษากรอบเนื้อหาเดิมนั้น และตอบคำ ถามใหม่อีกครั้ง ก่อนจะไปเรียนกรอบเนื้อหาต่อไป โครงสร้างแบบนี้เหมาะสมกับบทเรียนประเภทติวเตอร์ และแบบฝึกหัด
........2.7 แบบแตกกิ่งคู่ (Branching frame sequence) บทเรียนลักษณะนี้ประกอบด้วยกรอบเนื้อหา กรอบคำถาม และกรอบซ่อมเสริม เมื่อผู้เรียน เรียนรู้เนื้อหาจะไปสู่กรอบคำถามซึ่งมีคำตอบให้เลือกตอบหลายตัวเลือกถ้าผู้เรียนตอบถูก จะไปเรียนกรอบต่อไป ถ้าตอบผิดในตัวเลือกที่ 1 จะไปสู่กรอบซ่อมเสริมสำหรับตัวเลือกที่ 1 ถ้าตอบผิดในตัวเลือกที่ 2 จะไปสู่กรอบซ่อมเสริมสำหรับตัวเลือกที่ 2 หากมีหลายตัวเลือกจะมีกรอบซ่อมเสริมหลายกรอบ เมื่อผู้เรียน เรียนกรอบซ่อมเสริมแล้วต้องกลับไปเรียน ในกรอบเนื้อหาใหม่ และทำกรอบทดสอบอีกครั้ง จนกว่าจะตอบถูก จึงจะไปสู่กรอบเนื้อหาต่อไป โครงสร้างลักษณะนี้เหมากับบทเรียนประเภทติวเตอร์ แบบฝึกหัด สถานการณ์จำลอง
.........2.8 แบบแตกกิ่งประกอบ (Compound branches) มีลักษณะที่เหมาะกับบทเรียนประเภทใช้วินิจฉัยข้อบกพร่องของผู้เรียน หรือสถานการณ์แก้ปัญหา คำถามจะอยู่ในลักษณะใช่ ไม่ใช่ จากคำตอบ ใช่ หรือไม่ใช่ที่ผู้เรียนเลือกตอบ จะพาผู้เรียนไปยังกรอบคำถาม หรือ เนื้อหากรอบต่อไปตามพื้นฐานความรู้ของผู้เรียนแต่ละคน
........2.3 แบบข้ามและย้อนกลับ (Gates Frames) มีลักษณะโครงสร้างแบบ เส้นตรงมีกรอบคำถามอยู่ระหว่างกรอบเนื้อหาหลายกรอบ และถ้าตอบผิด อาจย้อนกลับไป กรอบเนื้อหาใดๆ ตามที่ผู้ออกแบบบทเรียนกำหนดไว้ โครงสร้างแบบนี้เหมาะกับ บทเรียนประเภทติวเตอร์ แบบฝึกหัด เกมเพื่อการสอน และสถานการณ์จำลอง
........2.4 แบบเส้นทางเดินหลายทาง (Secondary tracks) เป็นบทเรียนที่มีทางเดินหลายระดับ โดยเส้นทางที่ 1 เป็นกรอบเนื้อหาหลัก ไม่มีรายละเอียดมากนัก ถ้าผู้เรียนเลือกเรียนเฉพาะเส้นทางที่ 1 ผู้เรียนจะได้รายละเอียดของเนื้อหาในระดับหนึ่ง แต่ถ้าต้องการรายละเอียดมากขึ้น ก่อนจะไปสู่กรอบเนื้อหาต่อๆ ไป จะต้องไปศึกษา ในทางเดินระดับที่ 2และ 3 โครงสร้างประเภทนี้เหมาะกับบทเรียนประเภท ติวเตอร์ ซึ่งเนื้อหาของบทเรียน มีลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์ และไฮเปอร์มีเดีย (Hypertext and Hypermedia)
....3. การประเมินบทเรียน (Content Correctness) หลังจากการจัดทำ Story board เสร็จแล้ว ควรให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาอย่างน้อย 3 – 5 คน ได้ประเมินเกี่ยวกับความเที่ยงตรงเค้าโครงสร้างของเนื้อหาก่อน ได้ข้อเสนอแนะแล้วนำมาปรับปรุงอีกครั้ง
.......2.5 แบบกรอบเสริมเชิงเดี่ยว (Single remedial branch) เป็นบทเรียนที่เริ่มด้วยกรอบเนื้อหา ตามด้วยกรอบคำถาม ถ้าผู้เรียนตอบถูกจะไปเรียนกรอบต่อไปแต่ถ้าตอบผิดผู้เรียนจะต้องไปเรียนกรอบซ่อมเสริมก่อนจะไปเรียนกรอบต่อไป ลักษณะบทเรียนประเภทนี้เหมาะกับบทเรียนประเภท ติวเตอร์ และแบบฝึกหัด
.......2.6 แบบมีห่วงกรอบช่วยเสริม (Remedial loops) มีลักษณะคล้ายกับแบบกรอบเสริมเชิงเดี่ยว ต่างกันที่ กรอบช่วยเสริมมีหลายกรอบ ประกอบกันเป็นชุด หลาย ๆ กรอบ ซึ่งเป็นกรอบที่ปูพื้นฐานความรู้ ข้อมูลให้ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนได้รับการซ่อมเสริมแล้ว จะส่งกลับมายังกรอบเนื้อหาเดิม เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความรู้จากการซ่อมเสริม มาศึกษากรอบเนื้อหาเดิมนั้น และตอบคำ ถามใหม่อีกครั้ง ก่อนจะไปเรียนกรอบเนื้อหาต่อไป โครงสร้างแบบนี้เหมาะสมกับบทเรียนประเภทติวเตอร์ และแบบฝึกหัด
........2.7 แบบแตกกิ่งคู่ (Branching frame sequence) บทเรียนลักษณะนี้ประกอบด้วยกรอบเนื้อหา กรอบคำถาม และกรอบซ่อมเสริม เมื่อผู้เรียน เรียนรู้เนื้อหาจะไปสู่กรอบคำถามซึ่งมีคำตอบให้เลือกตอบหลายตัวเลือกถ้าผู้เรียนตอบถูก จะไปเรียนกรอบต่อไป ถ้าตอบผิดในตัวเลือกที่ 1 จะไปสู่กรอบซ่อมเสริมสำหรับตัวเลือกที่ 1 ถ้าตอบผิดในตัวเลือกที่ 2 จะไปสู่กรอบซ่อมเสริมสำหรับตัวเลือกที่ 2 หากมีหลายตัวเลือกจะมีกรอบซ่อมเสริมหลายกรอบ เมื่อผู้เรียน เรียนกรอบซ่อมเสริมแล้วต้องกลับไปเรียน ในกรอบเนื้อหาใหม่ และทำกรอบทดสอบอีกครั้ง จนกว่าจะตอบถูก จึงจะไปสู่กรอบเนื้อหาต่อไป โครงสร้างลักษณะนี้เหมากับบทเรียนประเภทติวเตอร์ แบบฝึกหัด สถานการณ์จำลอง
.........2.8 แบบแตกกิ่งประกอบ (Compound branches) มีลักษณะที่เหมาะกับบทเรียนประเภทใช้วินิจฉัยข้อบกพร่องของผู้เรียน หรือสถานการณ์แก้ปัญหา คำถามจะอยู่ในลักษณะใช่ ไม่ใช่ จากคำตอบ ใช่ หรือไม่ใช่ที่ผู้เรียนเลือกตอบ จะพาผู้เรียนไปยังกรอบคำถาม หรือ เนื้อหากรอบต่อไปตามพื้นฐานความรู้ของผู้เรียนแต่ละคน